วันศุกร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2555

Carboxylic acid Derivative

Carboxylic acid Derivative(อนุพันธ์ของกรดอินทรีย์)

Ester





เรียกชื่อ
เรียกชื่อหมู่แอลคิลหรือหมู่แอริลจากแอลกอฮอล์ แล้วตามด้วยชื่อของกรดคาร์บอกซิลิก เปลี่ยนคำลงท้ายจาก – ic เป็น –ate
สมบัติ
1. เอสเทอร์กับกรดคาร์บอกซิลิกเป็นไอโซเมอร์โครงสร้างกัน โดยเอสเทอร์จะมีจุดเดือดต่ำกว่ากรดคาร์บอกซิลิก เนื่องจากเอสเทอร์ไม่มีพันธะไฮโดรเจนยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลจึงน้อยกว่ากรดคาร์บอกซิลิก
2. เมื่อมีจำนวนอะตอมคาร์บอนเพิ่มขึ้น เอสเทอร์จะมีจุดเดือดสูงขึ้น
3. เอสเทอร์ที่มีโมเลกุลขนาดเล็กจะละลายน้ำได้ แต่สภาพละลายได้จะลดลงเมื่อจำนวนอะตอมเพิ่มขึ้น
4.มีกลิ่นเฉพาะตัว 
ปฏิกิริยา
1.ปฏิกิริยาการแยกสลาย เอสเทอร์เกิดปฏิกิริยาการแยกสลายได้ทั้งในสารละลายที่เป็นกรดหรือเบส




ในสารละลายที่เป็นเบสจะให้ผลผลิตเป็นเกลือของกรดคาร์บอกซิลิกและแอลกอฮอล์





2.ปฏิกิริยารีดักชั่น เอสเทอร์ถูกรีดิวซ์ด้วย LiAlH4 ให้ผลผลิตเป็นแอลกอฮอล์




3.ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส (hydrolysis) โดยมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่อุณหภูมิสูง








Amide
 
เอไมด์เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุ C , H , O และ N เกิดจากหมู่อะมิโน (–NH2) เข้าไปแทนที่หมู่คาร์บอกซิล
(–
COOH
) ในกรดคาร์บอกซิลิก โดยมีสูตรทั่วไปและมีหมู่ฟังก์ชันดังนี้

เรียกชื่อ
เรียกตามจำนวนอะตอมแล้วตามด้วย -anamide
 สมบัติ
1. เอไมด์เป็นโมเลกุลมีขั้ว มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจน
  
2. จุดเดือดของเอไมด์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมของคาร์บอน เอไมด์ส่วนใหญ่มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง และจุดเดือดสูงกว่าเอมีนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน เพราะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของเอไมด์สูงกว่าเอมีน พันธะไฮโดรเจนที่เกิดระหว่างหมู่ -CO -NH
 
3. เอไมด์ที่มีโมเลกุลขนาดเล็กละลายน้ำได้ แต่สภาพละลายได้จะลดลงื่อจำนวนอะตอมคาร์บอนเพิ่มขึ้น จนถึงไม่ละลายน้ำ สารละลายของเอไมด์มีสมบัติเป็นกลาง เนื่องจากอะตอมของออกซิเจนในหมู่คาร์บอนิลดึงดูดอิเล็กตรอนจากอะตอมของไนโตรเจนในหมู่อะมิโน เป็นผลทำให้ไนโตรเจนมีสภาพขั้วไฟฟ้าค่อนข้างบวก จึงไม่สามารถรับโปรตอนจากน้ำได้

ปฏิกิริยา
Hidolisisในกรดและเบส


  
 





1 ความคิดเห็น: